ภาวะ พร่อง เอนไซม์ G6Pd - G6Pd คือ อะไร ภาวะแพ้ถั่วปากอ้า อันตรายกับลูกน้อยแค่ไหน

คุณพ่อคุณแม่รู้จักโรคภาวะพร่องเอนไซม์ (G6PD) หรือไม่? ถ้าลูกเป็นแล้วทำไมต้องได้รับการดูแลเป็พิเศษ ในครั้งนี้เรามาทำความรู้จักกันว่าคือโรคอะไร ภาวะพร่องเอนไซม์ (G6PD) เป็น โรคที่ติดต่อทางพันธุกรรม ชนิดหนึ่ง เกิดจากความผิดปกติทางพันธุกรรมและโครโมรโซมเพศชนิดโครโมรโซมเอกซ์ ซึ่งมีการถ่ายทอดยีน G6PD ในรูปแบบ X-linked recessive จากคนเป็นแม่ ส่งผลทำให้อัตราทารกเด็กเพศชายจะเป็นโรคนี้สูงกว่าทารกเพศหญิง อัตราการเป็นโรคภาวะพร่องเอนไซม์ G6PD ชนิดต่างๆ ทั่วโลกอยู่ที่ 200-400 ล้านคน และในประเทศไทยตรวจพบว่าคนเป็นโรค G6PD ชนิด Viangchan ร้อยละ 83. 3 Mahidol ร้อยละ11. 9 และ Union ร้อยละ 4. 8 เอนไซต์ G6PD เป็นเอนไซม์ที่พบได้ในเม็ดเลือดแดง มีความสำคัญในขั้นตอนขบวนการการสร้างพลังงานของน้ำตาลกลูโคส (pentose phosphate) ให้แปรเปลี่ยนจาก NADP เป็น NADPH ไปทำปฎิกริยากับเอนไซม์ Glutathione reductase และ Glutathione peroxidase เพื่อทำหน้าที่ในการต่อต้านสารอนุมูลอิสระและป้องกันไม่ให้เม็ดเลือดแดงแตกได้ง่าย …… ขอบคุณข้อมูลจาก รศ. นพ.

เผลอทานยาที่เด็กเป็น g6pd ทานไม่ได้ - Pantip

0 IU/gHb = G6PD deficiency ค่าปกติสำหรับผู้ที่อายุ 1 ปีขึ้นไป: 7. 9-16. 3 IU/gHb (WHO) ในทารกตัดที่ 2. 55 IU/gHb [5] Polymerase chain reaction (PCR) test เป็นการตรวจความผิดปกติในระดับโมเลกุลของ G6PD ที่พบบ่อยในคนไทยได้แก่ G6PD ชนิด Viangchan, Mahidolและ Union เป็นต้น ผู้ที่เป็นโรคพร่องเอนไซม์ G6PD ควรมีบัตรประจำตัวระบุว่าเป็นโรคนี้ และควรหลีกเลี่ยงอาหารและยาที่อาจมีผลทำให้เม็ดเลือดแดงแตกเฉียบพลัน สำหรับแพทย์ ก่อนให้ยารักษามาลาเรียในผู้ป่วยชาย โดยเฉพาะมาลาเรียที่ไม่รุนแรง (P. vivax หรือ P. ovale) ที่ต้องกินยา Primaquine ต่อไปอีก 14 วัน ควรตรวจ G6PD FS test ก่อนทุกครั้ง บรรณานุกรม รศ. นพ. กิตติ ต่อจรัส. "โรคพร่องเอนไซม์ G6PD. " [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา หน่วยโลหิตวิทยา กองกุมารเวชกรรม โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า. (7 ตุลาคม 2563). "G-6-PD Screening Test. แหล่งที่มา โรงพยาบาลศิริราช. (7 ตุลาคม 2563). "Methemoglobin Reduction Test (MR Test) for G-6-PD. (7 ตุลาคม 2563). "G-6-PD assay. (7 ตุลาคม 2563). Jing-Kun Miao, et al. 2013. "Determination of optimal cutoff value to accurately identifyglucose-6-phosphate dehydrogenase-deficient heterozygousfemale neonates.

ภาวะพร่อง g6pd -โรงพยาบาลแมคคอร์มิค เชียงใหม่ McCormick Hospital ChiangMai

กระทู้คำถาม ลูกวัย8เดือนเป็น G6PD ทานยาที่ห้ามทานในเด็กที่เป็นโรคนี้ไปค่ะ 6 cc มีผล หรือควรสังเกตอาการยังไงบ้างคะ 0 แสดงความคิดเห็น คุณสามารถแสดงความคิดเห็นกับกระทู้นี้ได้ด้วยการเข้าสู่ระบบ กระทู้ที่คุณอาจสนใจ

เปิดลิสต์ยา-อาหารต้องห้าม! โรคพร่องเอนไซม์ G6PD สยามรัฐ

  1. ภาวะพร่องเอนไซม์ g6pd
  2. G6PD คืออะไร ทำไมเด็กๆ ถึงเป็นโรคนี้กันมาก
  3. Oppo f11 โปร pro
  4. VGOD PRO 200W KIT - THAIBNVAPE ตอบกลับ 24 ชั่วโมง
  5. นายก บอล ไทย ฟิลิปปินส์
  6. เผลอทานยาที่เด็กเป็น g6pd ทานไม่ได้ - Pantip
  7. เรื่องที่แม่ต้องรู้! G6PD โรคผิดปกติทางพันธุกรรม ถ่ายทอดจากแม่สู่ลูกได้ | BCC GROUP THAILAND
  8. [Rx2750045] 🐞โรคพร่องเอนไซม์ G6PD
  9. All star tower defense โค้ดใหม่
  10. แกะ external harddisk
  11. โรค g6pd คืออะไร สาเหตุจากอะไร? เกี่ยวพันธุกรรมหรือเปล่า? อาการเป็นอย่างไร? ควรหลีกเลี่ยงยาและอาหารอะไรบ้าง? | HD สุขภาพดี เริ่มต้นที่นี่
  12. ของ ฝาก tokyo station map

G6PD คือ อะไร ภาวะแพ้ถั่วปากอ้า อันตรายกับลูกน้อยแค่ไหน

ภาวะพร่องเอนไซด์ G6PD ในเด็ก และอาหารที่ห้ามรับประทานในเด็กที่เป็นโรค G6PD

ผู้ป่วยจะต้องมีสมุดประจำตัว เวลาไปพบแพทย์หรือเภสัชกร จะได้ทราบว่าควรหลีกเลี่ยงยาชนิดใดบ้าง 2. หลีกเลี่ยงการกินถั่วปากอ้า การกินเชอร์รี่ บลูเบอร์รี่ โยเกิร์ตบางชนิดที่มีถั่ว ไวน์แดง 3. หลีกเลี่ยงการได้กลิ่นลูกเหม็น 4. หลีกเลี่ยงการใช้ยากลุ่ม NSAIDs บางชนิด ยาแอสไพริน ยาปฏิชีวนะบางชนิด เช่น ยากลุ่มซัลฟา หรือไนโตรฟูแรนโทอิน เป็นต้น ยาต้านมาลาเรียบางชนิด เช่น ควินิน หรือควินิดีน เป็นต้น 5. เมื่อมีอาการซีด เหนื่อย เพลีย ตัวเหลือง ปัสสาวะเปลี่ยนสี ต้องรีบไปโรงพยาบาลทันที 6. รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และครบถ้วน ไม่เลือกรับประทานเฉพาะอาหารที่ชอบ 7. หลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์มากเกินไป และการสูบบุหรี่ การป้องกัน เนื่องจากเป็นโรคทางพันธุกรรม จึงไม่สามารถป้องกันได้ การป้องกันจึงทำได้เพียงการหลีกเลี่ยงยาและสารกระตุ้นที่ทำให้เม็ดเลือดแดงแตกตัว แม้ว่า โรคพร่องเอนไซม์ G6PD จะเป็นโรคที่ไม่ได้มีอันตรายและความรุนแรงถึงชีวิต แต่ก็เป็นโรคที่คุณพ่อคุณแม่มือใหม่ หรือผู้ที่วางแผนจะมีบุตร ควรรู้จัก เพื่อจะได้สังเกตอาการของลูกว่ามีภาวะพร่องเอนไซม์ G6PD หรือไม่ เพื่อจะได้เตรียมการรักษาและการป้องกันไม่ให้เม็ดเลือดแดงแตกนั่นเอง ขอขอบคุณข้อมูลจาก สมาคมโลหิตวิทยาแห่งประเทศไทย

ภาวะพร่องเอนไซม์ g6pd

ภาวะขาดเอนไซม์จีซิกพีดี G6PD deficiency, Glucose 6 phosphatase dehydrogenase deficiency เป็นหนึ่งในสาเหตุที่พบบ่อยของเด็กแรกเกิดที่มี ตา ตัวเหลือง เอนไซม์ G6PD มีความสำคัญอย่างไร? เอนไซม์จีซิกพีดี มีความสำคัญโดยเป็นเอนไซม์ที่ทำให้มีการเร่งสร้างปฏิกิริยาในเซลล์ต่างๆ ของร่างกาย ทำให้เกิดสารที่ทำให้เซลล์ต่างๆ รวมทั้งเม็ดเลือดแดงแข็งแรง การขาดเอนไซม์จีซิกพีดี ทำให้เม็ดเลือดแดงแตกได้อย่างไร?

[Rx2750045] 🐞โรคพร่องเอนไซม์ G6PD

ไม่ควรซื้อยา อาหารเสริม หรือสมุนไพรกินเอง 2. เมื่อมีอาการซีด เหลือง หรือปัสสาวะสีเข้มขึ้น (สีน้ำโคล่า) ควรรีบไปพบแพทย์ 3. หลีกเลี่ยงการรับประทานถั่วปากอ้า ไวน์แดง พืชตระกูลถั่ว บลูเบอรี่ ถั่วเหลือง 4. หลีกเลี่ยงการสูดดมลูกเหม็น การบูร 5. แจ้งแพทย์ทุกครั้งว่ามีภาวะพร่อง G6PD พร้อมกับแสดงบัตรประจำตัวที่โรงพยาบาลออกให้ ภายในบัตรจะระบุชื่อยาและสารเคมีที่ต้องหลีกเลี่ยง

โรค G6PD หรือ "โรคพร่องเอนไซม์G6PD" เป็นโรคที่เด็กจะมีโอกาสเป็นจากสาเหตุทางพันธุกรรมที่มีการถ่ายทอดความผิดปกตินี้จากแม่ไปสู่รุ่นลูกได้ มาทำความรู้จักกับโรคนี้ว่าคืออะไรกันค่ะ เรื่องที่แม่ต้องรู้!

ส่งเสริมให้เนื้อเยื่อได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ เพราะมีภาวะซีดจากการแตกของเม็ดเลือดแดง 2. ลดการคั่งของบิลิรูบิน กรดยูริกและโปตัสเซียมในร่างกายจากการแตกของเม็ดเลือดแดงโดยให้ได้รับการส่องไฟ สังเกตภาวะมีโปตัสเซียมไบคาร์บอเนตตามแผนการรักษา เพื่อให้ปัสสาวะมีฤทธิ์เป็นด่าง ป้องกันารคั่งค้างและตกตะกอนของกรดยูริคที่ไต ทำให้ไตวายจากกรดยูริคไปอุดหลอดเลือดฝอยของไต 3. ให้คำแนะนำในการปฏิบัติตัว การถ่ายทอดทางพันธุกรรม

ภาวะพร่องเอนไซม์ g6pd

โรคพร่องเอนไซม์ G- 6- PD โรคคพร่องเอนไซม์ G6PD ( อังกฤษ: Glucose-6-phosphate dehydrogenase deficiency) เป็น โรคทางพันธุกรรม โรคหนึ่งซึ่งทำให้ เม็ดเลือดแดงแตก เมื่อได้รับสิ่งกระตุ้นต่างๆ สาเหตุ แผนภาพกระบวนการเมตะบอลิซึ่มวิถี Pentose Phosphate Pathway โรคนี้เกิดจากภาวะที่พร่องเอนไซม์ G6PD (Glucose-6-Phosphate Dehydrogenase) ซึ่งเป็นเอนไซม์สำคัญในกระบวนการเมแทบอลิซึม ในวิถี Pentose Phosphate Pathway (PPP. )

May 20, 2022
เพลง-ของ-parata