F20 0 Paranoid Schizophrenia คือ

จิตบำบัด ควรจะทำตั้งแต่ระยะแรกๆ ที่ผู้ป่วยมาพบแพทย์ โดยแพทย์จะต้องวางตัวเป็นกลาง หนักแน่น เสมอต้นเสมอปลาย และไม่ผลักไสผู้ป่วย แพทย์ไม่ควรพูดถึงความหลงผิดของผู้ป่วย และไม่ควรโต้แย้ง กล่าวแก้ หรือตัดสินเกี่ยวกับเรื่องนี้ ทั้งไม่ควรแสดงอารมณ์ โต้ตอบกับอารมณ์โกรธหรืออารมณ์ก้าวร้าวของผู้ป่วย ซึ่งจะทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ป่วยกับแพทย์เสียไป การเป็นผู้รับฟังที่ดีจะช่วยให้ผู้ป่วยสามารถระบายความคิด ความรู้สึก และประสบการณ์ เมื่อความสัมพันธ์ระหว่างผู้ป่วยและแพทย์มั่นคงดี แพทย์อาจค่อยๆ เปลี่ยนความเชื่อของผู้ป่วยทีละน้อย โดยอาศัยเหตุผลต่างๆ ช่วย

Disorder

กรณีที่เป็นโรคที่เกิดจากการทำงาน บรรทัดนั้นจะมีสีฟ้า ค้นหา

  • F20 0 paranoid schizophrenia คือ definition
  • Paranoid Schizophrenia - อาการทางจิต
  • เที่ยวสวนผึ้ง pantip 2564
  • F20 0 paranoid schizophrenia คือ c
  • F20 0 paranoid schizophrenia คือ o

กรณีศึกษา ผู้ป่วย Paranoid Schizophrenia (F20. 0) by Prospe DC

Residual schizophrenia เป็นระยะเรื้อรังของโรคจิตเภท โดยมีการดำเนินโรคชัดเจนตั้งแต่ต้นจนถึงระยะท้าย อาการหลักคือเป็นนาน มีอาการด้านลบ เช่น เชื่องช้า ไม่ค่อยทำอะไร อารมณ์เฉยเมย เป็นผู้ตาม ไม่มีความคิดริเริ่ม พูดน้อย ไม่มีการแสดงท่าทางเวลาพูด ไม่สบตา พูดเสียงระดับเดียว อยู่ในท่าเดียว ไม่สนใจตัวเอง และไม่เข้าสังคม 7. Simple schizophrenia อาการเกิดขึ้นช้าๆ ค่อยๆ เป็นมากขึ้นเรื่อยๆ มีพฤติกรรมผิดปกติ เข้าสังคมไม่ได้ ประสิทธิภาพในการทำงานลดลง อาการด้านลบของ residual schizophrenia เช่น อารมณ์เฉยเมย เกิดโดยไม่เคยมีอาการโรคจิตอื่นๆ มาก่อน เกณฑ์การให้รหัส ให้รหัสในกลุ่ม F20. - Schizophrenia ตามชนิดที่แพทย์วินิจฉัย รหัสในกลุ่มนี้ต้องมีครบ 5 หลักเสมอ โดยรหัสหลักที่ 5 แสดงรูปแบบการดำเนินโรค Chapter(บทที่): Chapter 5 ความผิดปกติทางจิตและพฤติกรรม Group(กลุ่มของโรค): F20-F29 โรคจิตเภท พฤติกรรมแบบโรคจิตเภท และโรคหลงผิด/Schizophrenia, schizotypal and delusional disorders

กรณีศึกษา ผู้ป่วย Paranoid Schizophrenia (F20.0) by Prospe DC

F40-F49 โรคประสาท เป็นกลุ่มโรคทางระบบประสาทซึ่งเกี่ยวข้องกับความคิดเป็นหลัก ตัวอย่างโรคในหมวดนี้ ได้แก่ โรควิตกกังวล (Anxiety) โรคเครียด ( Stress) โรคย้ำคิดย้ำทำ (Obsessive-Compulsive) โรคที่เจ็บปวดตามร่างกายอันเนื่องมาจากสาเหตุทางจิตใจ (Somatoform) เป็นต้น 6. F50-F59 ความผิดปกติทางพฤติกรรม เป็นกลุ่มโรคที่ส่งผลให้มีพฤติกรรมผิดปกติ ได้แก่ โรคการกินผิดปกติ (Eating disorder) โรคนอนไม่หลับ ( Insomnia) โรคพฤติกรรมเปลี่ยน (Behavior changes) 7. F60-F69 ความผิดปกติทางพฤติกรรมและบุคลิก เป็นกลุ่มโรคที่มีความผิดปกติทางพฤติกรรมเด่นชัด ได้แก่ โรคพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง (Aggressive personal disorder) โรคบุคลิกภาพแบบก้ำกึ่ง (Borderline personal disorder) โรคบุคลิกภาพแบบพึ่งพิง (Dependent personal disorder) โรคติดการพนัน (Pathological gambling) เป็นต้น 8. F70-F79 ความบกพร่องทางสติปัญญา เป็นกลุ่มโรคที่มีความผิดปกติหรือบกพร่องทางระดับสติปัญญา ส่งผลให้เรียนรู้ได้น้อย ได้แก่ โรค ปัญญาอ่อน 9. F80-F89 ความผิดปกติในด้านพัฒนาการ เป็นกลุ่มโรคที่มีความผิดปกติหรือพัฒนาการบกพร่อง ได้แก่ โรคผิดปกติทางการพูดออกเสียง (Speech Develop disorder) ความผิดปกติในการใช้ภาษา (Expressive language disorder) ความผิดปกติในการเข้าใจภาษา (Receptive language disorder) โรคผิดปกติทางด้านกล้ามเนื้อมัดเล็กมัดใหญ่ (Motor function development disorder) โรคผิดปกติทางการเรียนรู้ (LD) โรคออทิสติก (Autistic spectrum disorder) 10.

เผยแพร่ครั้งแรก 9 ส. ค. 2019 อัปเดตล่าสุด 17 พ. ย. 2020 เวลาอ่านประมาณ 2 นาที โรคที่ถูกจัดเป็นโรคทางจิตเวชนั้นมีหลากหลายโรค และแต่ละโรคก็มีลักษณะอาการแตกต่างกันไป วันนี้เราจะมาดูกันว่าโรคจิตเวชแต่ละประเภทนั้นมีลักษณะอย่างไรกันบ้าง โรคจิตเวชสามารถแบ่งเป็นหมวดหมู่ตามระบบการวินิจฉัยโรค ดังนี้ แพ็กเกจที่คุณอาจสนใจ ปรึกษาสุขภาพจิต วันนี้ ที่คลินิกหรือรพ. ใกล้บ้านคุณ เริ่มต้นที่ 864 บาท ลดสูงสุด 336 บาท จองผ่าน HD ประหยัดกว่า / จ่ายทีหลังได้ / ผ่อน 0% ได้ / พร้อมแอดมินคอยตอบทุกคำถาม! กด 1. F00-F09 ความผิดปกติที่เป็นผลจากโรคทางกาย Organic mental disorderOrganic mental disorder เป็นกลุ่มอาการเนื่องจากโรคของสมอง ซึ่งมักเป็นสภาวะที่มีการเสื่อมเรื้อรัง มีผลต่อการทำงานที่ซับซ้อนของสมองส่วนที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับความจำ ความคิด ความเข้าใจ การรับรู้สถานที่ เวลา บุคคล การคำนวณ การเรียนรู้ ภาษา การตัดสินใจ และการรู้สึกตัว โรคในหมวดนี้แบ่งย่อยได้อีกหลายโรคตามลักษณะอาการทางคลินิก เช่น โรคหลงลืม (Dementia) โรคสมองเสื่อม อัลไซเมอร์ (Alzheimer) โรคพฤติกรรมและอารมณ์เปลี่ยนเนื่องจากการบาดเจ็บทางสมอง (Organic brain syndrome) 2.

F10-F19 ความผิดปกติทางจิตและพฤติกรรมจากการใช้สารที่ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท เป็นกลุ่มอาการที่มีความผิดปกติทางความคิด อารมณ์ พฤติกรรม การรับรู้ อันเนื่องมาจากการได้รับสารกระตุ้นที่ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทจำพวกยาเสพติดต่างๆ ตัวอย่างโรคในหมวดนี้ ได้แก่ โรคติดสุรา ติดบุหรี่ ติดคาเฟอีน ติดยานอนหลับ และติด สารเสพติด ทุกชนิด 3. F20-F29 ความผิดปกติทางจิต (Psychotic disorder) เป็นกลุ่มโรคที่ส่งผลให้มีความผิดปกติทางความคิดและการรับรู้เป็นหลัก อาการเด่นของโรคในหมวดหมู่นี้ คือ หูแว่ว เห็นภาพหลอน หวาดระแวงหรือกลัวในสิ่งที่เป็นไปไม่ได้ หลงผิด คิดในสิ่งที่ไม่มีอยู่จริง ตัวอย่างโรคในหมวดนี้ ได้แก่ โรคจิตเภท ( Schizophrenia) โรคจิตหวาดระแวง (Paranoid Schizophrenia) โรคหลงผิด (Delusion) เป็นต้น แพ็กเกจที่คุณอาจสนใจ สั่งยา ปรึกษาข้อมูลเบื้องต้น จากร้านยาใกล้บ้านคุณได้ง่ายๆ เริ่มจากแชทกับเภสัชกรที่มีใบอนุญาตผ่านแอปของเรา ฟรี! บริการทุกวันตั้งแต่ 9 โมงเช้า ถึง 3 ทุ่ม 4. F30-F39 ความผิดปกติทางอารมณ์ (Mood disorder) เป็นกลุ่มโรคที่มีความผิดปกติทางอารมณ์เป็นหลัก อาการเด่น คือ อารมณ์แปรปรวน ควบคุมอารมณ์ไม่ได้ เศร้าหรือครึกครื้นมากเกินปกติ ตัวอย่างโรคในหมวดนี้ ได้แก่ โรคซึมเศร้า (Depressive) โรคอารมณ์สองขั้ว ( Bipolar) โรคอารมณ์ดีผิดปกติ ( Mania) เป็นต้น 5.

Paranoid schizophrenia อาการเด่นคือหลงผิดชนิด paranoid มักพบอาการประสาทหลอน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หูแว่ว ร่วมกับมีการเปลี่ยนแปลงของการรับรู้ ไม่ค่อยพบการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ ภาษาพูด พฤติกรรม และ catatonia 2. Hobephrenic schizophrenia อาการเด่นคือ อารมณ์เปลี่ยนแปลง หลงผิด และประสาทหลอนแบบเยาะเย้ยไม่ปะติดปะต่อกัน มีพฤติกรรมไม่รับผิดชอบ คาดคะเนไม่ได้ และพบการเคลื่อนไหวเลียนแบบได้บ่อย อารมณ์ตื้นและไม่เหมาะสม ความคิดกระจัดกระจาย ไม่เป็นระบบคำพูดไม่ต่อเนื่อง แยกตัวจากสังคม 3. Catatonic schizophrenia อาจไม่พูด หรืออยู่ในท่าหนึ่งท่าใดนานๆ หรือมีการเคลื่อนไหวผิดปกติโดยปราศจากจุดหมาย และไม่ขึ้นกับสิ่งเร้าภายนอก มีการต่อต้านต่อทุกคำสั่งอย่างชัดเจน 4. Undifferentiated schizophrenia หรือ atypical schizophrenia มีเกณฑ์การวินิจฉัยว่าเป็นโรคจิตเภทครบ แต่ไม่เข้ากับชนิดย่อยชนิดใดข้างต้น 5. Post-schizophrenic depression มีอารมณ์เศร้าต่อเนื่องยาวนาน เกิดหลังจากป่วยเป็นโรคจิตเภท อาจยังมีอาการบางอย่างหลงเหลืออยู่ทั้งด้านบวกและด้านลบ แต่ไม่เด่น มีโอกาสฆ่าตัวตายได้มาก ถ้าไม่พบอาการของโรคจิตเภทหลงเหลืออยู่ ให้วินิจฉัยเป็น depression ถ้าอาการของโรคจิตเภทยังเด่นและชัดเจน ให้วินิจฉัยเป็นโรคจิตเภทชนิดต่าง ๆ 6.

Paranoid state, simple หมายถึง สภาวะระแวง ซึ่งมีความหลงผิดว่าตนถูกควบคุมบังคับ ถูกปองร้าย หรือถูกกระทำโดยวิธีการพิเศษบางอย่างเป็นอาการสำคัญ ความหลงผิดนี้ค่อนข้างฝังแน่น เป็นเรื่องเป็นราว และดูเป็นจริงเป็นจัง อาจมีลักษณะแบบเฉียบพลัน หรือแบบเรื้อรัง ๒. Paranoia เป็นสภาวะระแวง ซึ่งความหลงผิดค่อยๆ เกิดขึ้นอย่างเป็นเรื่องเป็นราว และมีเหตุผล รวมทั้งฝังแน่นไม่เปลี่ยนแปลง โดยที่ความคิดอื่นๆ ยังคงเรียบร้อยและชัดเจนดี ความหลงผิดที่สำคัญ คือ หลงว่าตนมีความสำคัญเป็นพิเศษ ตนถูกปองร้าย หรือร่างกายผิดปกติ ๓. Paraphrenia เป็นโรคจิตแบบหวาดระแวงชนิดหนึ่ง ซึ่งมีอาการประสาทหลอน เกิดขึ้นอย่างเด่นชัด และมักมีลักษณะเป็นหลายแบบ สภาวะนี้อาจเกิดในวัยต่อ เรียกว่า Involutional paranoid state หรือ Late paraphrenia ๔. Induced psychosis คือ สภาวะระแวงซึ่งมักจะเป็นเรื้อรัง และไม่มีลักษณะชัดเจน เกิดในคนที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับคนอีกคนซึ่งมีความหลงผิดอยู่ ความหลงผิดของเขาทั้งสองจะคล้ายกัน หรืออย่างน้อยก็มีความหลงผิดบางส่วนร่วมกัน อาจเกิดกับบุคคลมากกว่า ๒ คน แต่พบได้น้อยมาก โรคนี้สมัยก่อนเรียกว่า Folie a deux ๕. Other and unspecified ได้แก่ สภาวะระแวงแบบอื่นๆ ที่ไม่เข้าลักษณะ ๔ แบบ ที่กล่าวข้างต้น การดำเนินของโรค การดำเนินของโรคในพวก Paranoia และ Induced psychosis มักเรื้อรัง แต่บางรายอาจมีอาการรุนแรงเป็นครั้งคราวแล้วหายไปเป็นระยะๆ ได้ การดำเนินโรคของสภาวะระแวง แบบ simple อาจเป็นแบบเฉียบพลัน หรือแบบเรื้อรังก็ได้ การวินิจฉัย การวินิจฉัยโรคต้องอาศัยการซักประวัติ ตรวจร่างกาย ตรวจสภาพจิต ตรวจทางห้องทดลอง และการทดสอบทางจิตวิทยา ฯลฯ เช่นเดียวกับการตรวจโรคอื่นทางจิตเวช การวินิจฉัยโรคอาศัยหลักเกณฑ์ต่อไปนี้ ( dsm-iii) ๑.

May 20, 2022
stronghold-kingdoms-ไทย